เรื่องราวสนุก น่าติดตามมากขึ้นเรื่อยๆ รวมถึงความเข้มข้นทางประวัติศาสตร์ด้วยเช่นกัน สำหรับ “บุพเพสันนิวาส” และอีกหนึ่งฉากที่ บุพเพสันนิวาส ตามรอยประวัติศาสตร์ จนประทับใจคนดู และถูกพูดถึงกันอย่างมากก็คือ ฉากที่ เชอวาลีเย เดอ โชมงต์ ราชทูตฝรั่งเศสเข้าเฝ้าถวายพระราชสาส์น ของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แก่สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เรียกว่าผู้ชมที่ได้ดูต่างก็รู้สึกขนลุกกับความอลังการ สมจริงในละครเป็นอย่างมาก
บุพเพสันนิวาส ตามรอยประวัติศาสตร์ ฉากพระราชพิธีถวายพระราชสาส์นอลังการสมจริง
ฉากประวัติศาสตร์ในตำนานที่ถูกพูดถึงอย่างมากนั้น ได้แก่ ฉาก “เสด็จออกรับสาส์นราชทูตกรุงฝรั่งเศส” เมื่อเชอวาลิเย เดอ โชมงต์ ได้ทราบธรรมเนียมปฏิบัติของไทย ก็ไม่ประสงค์จะปฏิบัติตามเนื่องจากเห็นว่าไม่สมเกียรติในฐานะผู้แทนพระองค์พระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ ต้องการจะถวายพระราชสาส์นให้ถึงพระหัตถ์สมเด็จพระนารายณ์โดยตรงตามอย่างธรรมเนียมยุโรป จึงได้ขอร้องให้ราชสำนักอยุธยาจัดขุนนางมาทำความตกลงเรื่องพระราชพิธี เพื่อให้เป็นที่สมเกียรติทั้งสองฝ่าย สมเด็จพระนารายณ์จึงโปรดให้ (Constance Phaulkon) ขุนนางชาวกรีกซึ่งเป็นที่โปรดปราน ในเวลานั้นมีบรรดาศักดิ์เป็น “ออกพระฤทธิคำแหงภักดี” เป็นผู้ทำความตกลงกับฝรั่งเศส
ภารกิจของเชอวาลิเย เดอ โชมงต์ ที่ได้รับมาจากพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ แห่งฝรั่งเศส และมีบาทหลวงมาด้วยนั้น นอกจากส่งพระราชสาส์น ก็เพื่อชักชวนให้สมเด็จพระนารายณ์เข้ารีตเป็นคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิก เพื่อให้การเจรจาทำสัญญาทางการค้าสำคัญหลายฉบับเป็นไปอย่างราบรื่นขึ้น
แต่การนี้ไม่ประสบความสำเร็จ ขุนหลวงนารายณ์ ได้รับสั่งปฏิเสธอย่างนุ่มนวลและฉลาดหลักแหลมเป็นอย่างยิ่ง ไม่ทรงตอบรับแต่ก็ไม่ปิดโอกาส ตรัสเสียงเรียบ นุ่ม แต่จริงจังชัดเจน ว่า
“ทุกศาสนาสอนให้คนทำความดี เกรงบาป บำเพ็ญบุญ พระเจ้าแผ่นดินที่ปกครองคนมีศาสนา มิว่าจะเป็นศาสนาใด ย่อมปกครองง่ายกว่าคนมิมีศาสนา ขอท่านบาทหลวงทุกท่านสอนศาสนาให้เต็มที่ อย่าได้เกรงอะไร เราไม่กีดขวางราษฎรของเราที่จะเลื่อมใสในศาสนาใด สำหรับตัวของเรายังไม่รู้แน่ชัด ว่าศาสนาคริสต์นั้นเป็นอย่างไร เราจะขอศึกษาก่อน ขอให้พระเจ้ากรุงฝรั่งเศสผู้ทรงพระปรีชาญาณได้รับทราบว่า การที่พระเจ้าแผ่นดินจะเปลี่ยนศาสนาที่เคยนับถือกันมาสองพันกว่าปีนั้น เป็นเรื่องยากลำบากยิ่งนัก แต่…ก็มิใช่เรื่องสุดวิสัย”
หลังจากนั้น เชอร์วาเลีย เดอ โชมองต์ ได้ออกเดินทางกลับฝรั่งเศส ในเดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๒๒๘ และถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ ๒๘ มกราคม พ.ศ. ๒๒๕๓ ณ กรุงปารีส (อ้างอิง:ภาพประกอบจากละครบุพเพสันนิวาส /ข้อมูลจากเพจโบราณนานมา)
ฉากสำคัญ บุพเพสันนิวาส ตามรอยประวัติศาสตร์ ฉากนี้ มีตัวละครสำคัญคือ ขุนหลวงนารายณ์ รับบทโดย ปราบต์ปฎดล สุวรรณบาง และ ฟอลคอน รับบทโดย หลุยส์ สก๊อต
ด้วยตัวละครมีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ไทย ประจวบกับที่บทประพันธ์ และบทโทรทัศน์ ร้อยเรียงประวัติศาสตร์มาไว้ด้วยกันอย่างลงตัว จึงเกิดปรากฎการณ์ บุพเพสันนิวาส ตามรอยประวัติศาสตร์ ทำให้คนรุ่นใหม่ และผู้ชมที่ติดตามละครเรื่องนี้มีความสนใจในเรื่องราวประวัติศาสตร์ โบราณสหถาน มากขึ้น สุดสัปดาห์ จึงขออนุญาตแชร์บทความ เพื่อเป็นความรู้เกี่ยวกับพระราชพิธีถวายพระราชสาส์น โดยมีข้อมูลอ้างอิงจากเพจเฟซบุ๊ค วิพากษ์ประวัติศาสตร์ ดังนี้
พระราชพิธีถวายพระราชสาส์น สัญลักษณ์การต่อรองทางอำนาจ ระหว่างไทย-ฝรั่งเศส
การติดต่อเจริญสัมพันธไมตรี
เหตุผลหนึ่งมาจากบริษัทอินเ
บริษัทอินเดียตะวันออกดัตช์
นอกจากนี้ ราชสำนักอยุธยาก็
สมเด็จพระนารายณ์ จึงทรงหันไ ปผูกมิตรกับฝรั่งเศส ซึ่งเป็ นชาติมหาอำนาจของยุโรปในเวล านั้น เพื่อเป็นการคานอำนาจข องเนเธอร์แลนด์ และอังกฤษแทน สันนิษฐานว่าเพราะฝรั่งเศสใ นเวลานั้นเป็นศัตรูของเนเธอ ร์แลนด์ในเรื่องของการค้า และเรื่องของศาสนา เนื่องจากฝรั่งเศสนับถือศาส นาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก โดยพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ ทรงเป็นคริสตศาสนูปถัมภกของ นิกายนี้ และกีดกันศาสนาคริส ต์นิกายอื่นอย่างรุนแรง ในขณะที่เนเธอร์แลนด์นับถือ ศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนท ์
ฝรั่งเศสเองก็เล็งเห็นประโย
อีกประการหนึ่ง ฝรั่งเศสเห็นว่า เนเธอร์แลนด
จึงปรากฏได้ว่ามีความพยายาม ที่จะส่งคณะทูตเจริญสัมพันธ ไมตรีซึ่งกันและกัน และในที่สุดพระเจ้าหลุยส์ที ่ ๑๔ ก็ทรงแต่งคณะทูตชุดแรกมายัง กรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ.๒๒๒๘
ผู้นำคณะเป็นผู้บังคับการทห
อย่างไรก็ตามเกิดความไม่ลงร
ตามธรรมเนียมตะวันตกถือว่าร
แต่ธรรมเนียมไทยนั้นถือว่า ส
และคงเป็นด้วยเหตุนี้ ทำให้ป
เชอวาลิเย เดอ โชมงต์ ได้ทราบธรรมเนียมปฏิบ
สมเด็จพระนารายณ์เอง ทรงมีพร
“พระองค์ทรงเคยประกาศต่อธาร กำนัลแล้วว่า ไม่ทรงมีพระราชประสงค์จะใช้ ขนบธรรมเนียมอันเก่าแก่ดังท ี่เคยต้อนรับราชทูตประเทศโม กุล ประเทศเปอร์เซีย และประเทศจีน และพระองค์โปรดพระราชทานพระ บรมราชานุญาตให้ราชทูตแห่งป ระเทศฝรั่งเศส คาดกระบี่เข้า ไปในพระบรมราชวังได้ และให้นั่งตัวตรงในที่เฝ้าไ ด้ อันไม่เคยโปรดอนุญาตให้แก ่ราชทูตคนใดมาแต่ก่อนเลย”
พระอธิการโบสถ์ เดอ ชัวซีย์ (François Timoléon, abbé de Choisy) บาทหลวงในคณะทูต ซึ่งติดตามม
เหตุที่ทรงเรียกประชุมนี้เน
การให้การต้อนรับคณะทูตอย่า
นอกจากเรื่องความเคารพ โชมงต์ยังได้เจรจาในเรื่องก
เรื่องนี้ทำให้ฟอลคอนลำบากใ จ เพราะโดยปกติแล้วไม่เคยมีกา รผ่อนผัน แม้แต่ราชทูตจากตังเกี๋ยและ ญวน ยังต้องหมอบคลานขึ้นบันไ ด และหมอบเฝ้าหน้าที่ประทับ แต่โชมงต์ยืนยันไม่ยอม และกล่าวแถมท้ายด้วยว่า ถ้าไ ม่ได้รับอนุญาตก็ไม่สามารถเ ข้าเฝ้าได้ สุดท้ายจึงต้องรอมชอมกัน ให้ ขุนนางฝรั่งเศสเหล่านี้ไม่ย ืนอยู่หน้าที่ประทับ แต่ให้เข้าไปนั่งรอในท้องพร ะโรงก่อนจะเสด็จออก โดยให้นั่งบนพรมที่เตรียมไว ้ ซึ่งเมื่อนำความขึ้นกราบทูล สมเด็จพระนารายณ์แล้วก็ทรงม ีพระบรมราชานุญาตตามนั้น
ในเรื่องการถวายพระราชสาส์น
นอกจากนี้ เพราะสมเด็จพระนาร
วันที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๒๒๘ คณะทูตฝรั่งเศสได้เข้าเฝ้าถ
แต่เมื่อโชมงต์ได้เข้าเฝ้าแ ล้ว กลับพบว่าฟอลคอนผิดสัญญา ที่ให้ไว้ เพราะสมเด็จพระนารายณ์ประทั บอยู่บนสีหบัญชรที่สูงมาก จน ไม่สามารถถวายพระราชสาส์นต่ อพระหัตถ์ได้ และฟอลคอนกลับเอาพาน ซึ่งมีด ้ามจับยาวสามฟุตมาให้โชมงต์ วางพระราชสาส์นสำหรับชูถวาย ขึ้นไปแทน (ซึ่งไม่ทราบชัดเจนว่าเหตุใ ดฟอลคอนถึงไม่ทำตามข้อตกลง แต่เป็นไปได้ว่าราชสำนักอยุ ธยาพิจารณาแล้วว่า ไม่สามาร ถยอมทำตามข้อเรียกร้องของโช มงต์ได้ เลยให้ใช้พานตามที่ตั้งใจไว ้แต่แรก)
โชมงต์ได้บันทึกถึงเรื่องนี
“ข้าพเจ้ามีความแปลกใจที่ได
ตัวโชมงต์เองก็ไม่ใช่คนยอมใ
เรื่องนี้โชมงต์ได้บันทึกไว ้ว่า “ข้าพเจ้าได้เชิญพระราชสาส์ น จากมือบาทหลวงแอปเบเดอ ชวยซี คิดจะถวายดังเช่นข้าพเจ้าได ้พูดตกลงไว้ เจ้าพระยาวิชาเยนทราธิบดี ซึ่งไปเฝ้าด้วยข้าพเจ้าคลานเข ้าไปด้วยมือกับเข่า เรียกข้าพเจ้าแล้วบุ้ยชี้ให ้ข้าพเจ้ายกแขนเชิญพระราชสา ส์นขึ้นให้ถึงพระเจ้าแผ่นดิ น แต่ข้าพเจ้าทำเป็นไม่ได้ยินน ิ่งเสีย”
บาทหลวงเดอ ชัวซีย์ซึ่งอยู่ในเหตุการณ์
“ท่านราชทูตได้กระซิบบอกข้า
อย่างไรก็ตาม หลักฐานฝรั่งเศสหลายชิ้นระบ
บาทหลวงกีย์ ตาชารด์ (Guy Tachard) ซึ่งได้เข้าเฝ้าในวันนั้นบั
“พระเจ้าแผ่นดินสยามประทับ ณ สีหบัญชร ที่สูงมาก การจะยื่นพระราชสาสน์ถวายให ้ถึงพระองค์ท่านนั้น จำเป็นต้องจับคันพานที่ปลาย ด้าม และชูแขนขึ้นสูงมาก ซึ่งเมื่อพิจารณาเห็นว่าการ ถวายพระราชสาสน์ในระยะห่างม ากนั้นเป็นการไม่สมเกียรติ โดยควรที่จะถวายให้ใกล้พระอ งค์มากที่สุด ราชทูตจึงจับพานที่ตอนบน และยื่นขึ้นไปเพียงครึ่งแขน แค่นั้น พระเจ้าแผ่นดินสยามทรงทราบค วามประสงค์เหตุใดราชทูตจึงก ระทำเช่นนั้น จึงทรงลุกขึ้นยืนพร้อมกับแย ้มพระสรวล และทรงก้มพระองค์ออกมานอกสี หบัญชรเพื่อรับพระราชสาสน์ต รงกึ่งกลางทาง แล้วทรงนำพระราชสาสน์นั้นจบ เหนือเศียรเกล้า อันเป็นการถวายพระเกียรติให ้เป็นพิเศษ”
เชอวาลิเยร์ เดอ ฟอร์แบ็ง (Claude, chevalier de Forbin) นายทหารชาวฝรั่งเศสที่ติดตา
“ท่านราชทูตเดินเข้าไปจนใกล
บาทหลวง เดอ ชัวซีย์ได้บันทึกไว้ว่า “พระองค์ไม่มีพระราชประสงค์
ถ้าข้อความที่ชัวซีย์กล่าวเ ป็นจริงก็แสดงให้เห็นว่าทาง ราชสำนักไทย (สมเด็จพระนารายณ์) เองก็แสดงออกว่า ไม่ต้องการป ฏิบัติตามที่ฝรั่งเศสเรียกร้องไปทุกประการ แต่อย่างไรก็ตาม เชอวาลิเย เดอ โชมงต์ก็สามารถ ‘บีบ’ ให้สมเด็จพระนารายณ์ออกมารั บพระราชสาส์นตามที่ตนเองต้อ งการได้
ส่วนเรื่องที่ว่าสมเด็จพระน
จึงปรากฏว่าในการรับคณะทูตฝ
แต่ทางอยุธยาซึ่งมีออกพระว ิสุทธสุนธร (ปาน) ราชทูตผู้ไปฝรั่งเศสเป็นผู้ แทนเจรจา (ซึ่งฟอลคอนเป็นผู้สั่งการม าอีกต่อหนึ่ง) ก็ได้ขอให้ทางฝรั่งเศสทำหนั งสือเป็นลายลักษณ์อักษรเป็น การยืนยันด้วยว่า คณะทูตชุดต ่อๆ ไปจะได้รับเกียรติยศไม่สูงไ ปกว่าคณะทูตชุดโชมงต์ พร้อมทั้งให้ราชทูตเซ็นชื่อ และประทับตรากำกับเป็นหลักฐ าน
ต่อมาออกพระวิสุทธสุนธรก็ได้ แจ้งกับราชทูตฝรั่งเศสอีกว่ า พระยาพระคลังต้องการให้คณะท ูตฝรั่งเศสเขียนจดหมายอีกฉบ ับเพื่อรับรองว่า ถ้าต่อไปในภายหน้าพระเจ้ากรุงสยามจะทรงแต่งทูตไปยังประ เทศฝรั่งเศสบ้าง ก็ขอให้พระเจ้ากรุงฝรั่งเศส พระราชทานเกียรติยศให้คณะทู ตไทย เสมอกับที่ไทยได้ให้กับ คณะทูตฝรั่งเศสเช่นเดียวกัน
แสดงว่าในคราวนี้ราชสำนักอย
ในพระราชพิธีถวายพระราชสาส์
ราชทูตเซเบเรต์ได้บันทึกไว้
“…มองซิเออร์คอนซตันซ์ ก็ได้พูดว่า ทำอย่างไร ๆ ก็จะได้จัดการให้เราได้ถวาย
ที่มองซิเออร์ดูบรูอังได้เล
จะเห็นได้ว่าแม้อาจจะมีการป ระนีประนอมในเรื่องธรรมเนีย มปฏิบัติต่างๆ เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง แต่ทั้งสองฝ่ายต่างฝ่ายต่าง ก็มีข้อเรียกร้องเพื่อให้ไ ด้ผลประโยชน์สูงสุดต่อ “เกียรติยศ” ของราชสำนักของตนเองเท่าที่ สามารถทำได้ ไม่เว้นแม้แต่ในเรื่องรายละ เอียดที่ดูยิบย่อย อย่างการสวมหมวก
ซึ่งถ้าจะเรียกการเจรจาต่อร องในเรื่องพระราชพิธีถวายพร ะราชสาส์นนี้ เป็นการแสดงออก เชิงสัญลักษณ์ของอำนาจต่อรอ งทางการทูต ระหว่างอาณาจักรอย ุธยาและฝรั่งเศสก็คงจะไม่ผ ิดจากความจริงนัก
ภาพประกอบ : ภาพพิมพ์แกะไม้ชื่อ Ambassade française à la cour du Roi de Siam ผลงานของผลงานของ ฌ็อง-บัพตัสต์ โนแล็ง (Jean-Baptiste Nolin) แสดงเหตุการณ์วันที่ ๑๘ ตุลาคม ค.ศ. ๑๖๘๖ ที่เชอวาลิเย เดอ โชมงต์ ถวายพระราชสาส์นแด่สมเด็จพร
เบื้องหลังโชมงต์คือพระอธิก
ฉากนี้เป็นอีกปรากฎการณ์หนึ่งที่ทำให้เกิดกระแสตื่นตัวในโลกโซเชียล พาให้ใครต่อใครอยากรู้ อยากซึมซับประวัติศาสตร์ชาติไทยมากขึ้นกว่าที่เคยเป็นมา นับว่าเป็นเรื่องน่ายินดี และน่าส่งเสริมอย่างยิ่ง ขอบอกว่า ณ ตอนนี้ทีมงานสุดฯ ทุกคนต่างตั้งตารอว่า จะมีฉากปรากฎการณ์ บุพเพสันนิวาส ตามรอยประวัติศาสตร์ ฉากไหนอีกบ้าง มาติดตามไปด้วยกันเถิดหนา ออเจ้า
เรียบเรียง Miss Jee / Photo: broadcastthaitv
ขอขอบคุณข้อมูลจาก เพจ FB: วิพากษ์ประวัติศาสตร์ และ IG: khunchaiyod9t
The post บุพเพสันนิวาส ตามรอยประวัติศาสตร์ ฉากพระราชพิธีถวายพระราชสาส์นอลังการสมจริง appeared first on SUDSAPDA (สุดสัปดาห์) - TREND LIFESTYLE AND INSPIRATION.